สวนญี่ปุ่น ZenGarden
สวนแบบญี่ปุนเมืองปลาดิบนี้ ได้รับอิทธิพลจากสวนจีนแผ่นดินใหญ่ เข้ามาพร้อมๆกับ ศาสนาพุทธ สู่ญี่ปุ่น ในช่วงศตวรรษที่ 6 ลัทธิใหม่ 2 ลัทธิคือ Shingon และ Tendi ซึ่งเป็น ศาสนาพุทธ แบบมหายาน
การมาของ ศาสนาพุทธ แบบมหายาน ลัทธิชินโต Shingon และ Tendi เน้น ปฏิบัติ ทางทำสมาธิเพื่อให้เกิดสติปัญญา โดยให้ ผู้ปฏิบัติธรรมหาที่ วิเวก เข้าสู่ความเงียบของธรรมชาติ
การจัดสวน ในญี่ปุ่น จึงมีจุดเริ่มต้น จากวัด เช่นเดียวกับการเกิดขึ้นของ สวนจีน จากนั้นจึง แผ่ขยาย เข้าไปในวัง และ บ้านคหบดี ในเวลาต่อมา
ช่วงศตวรรษ ที่ 8-12 วัดในญี่ปุ่นส่วนใหญ่เป็นวัดใน ลัทธิชินโต มีสถาปัตยกรรม คล้ายกับที่ปรากฎในประเทศจีน คือ หลังคา เป็นทรงโค้ง มักจะมุงด้วยหญ้า ไม่มุงกระเบื้อง และจะมี ลานกรวด เพื่อแสดงถึง ความเป็นพื้นที่สงบ ศักดิ์สิทธิ์
ลานกรวดตามวัดต่างๆ จะถูกสร้างขึ้น อย่างประณีต และไม่ปลูกต้นไม้ ที่มีใบร่วงไว้ใน บริเวณใกล้เคียง ในตอนปลายสมัยนี้
ในศตวรรษที่ 12-15 การเข้ามาของลัทธิ Zen ในญี่ปุ่นทำให้เกิดสวน อีกประเภทที่เรียกว่า Dry Garden (kare sansui) มีลักษณะเป็นสวนแบบ Minimalism ซึ่งได้รับการออกแบบเพื่อให้เอื้อต่อการทำสมาธิ สวน Zen จึงเป็นสวนที่มีองค์ประกอบน้อยมากแสดงให้เห็นแก่นแท้ของธรรมชาติ สวนมีลักษณะเป็นลานกรวดที่มีต้นไม้น้อยที่สุด
via pic :Pinterest
นิยมสร้างสระน้ำ ผืนใหญ่ ไว้ในสวน มีศาลา สวดมนต์ ตั้งอยู่รอบๆ สวนในบ้านขุนนาง ชั้นผู้ใหญ่ หรือคหบดี บริเวณศาลาจะมี การตกแต่ง ประดับประดา ด้วยอัญมณี มีค่า มีการติดโคมไฟ ตลอดจน การทำรั้วรอบ
สวนแบบญี่ปุนเมืองปลาดิบนี้ ได้รับอิทธิพลจากสวนจีนแผ่นดินใหญ่ เข้ามาพร้อมๆกับ ศาสนาพุทธ สู่ญี่ปุ่น ในช่วงศตวรรษที่ 6 ลัทธิใหม่ 2 ลัทธิคือ Shingon และ Tendi ซึ่งเป็น ศาสนาพุทธ แบบมหายาน
การมาของ ศาสนาพุทธ แบบมหายาน ลัทธิชินโต Shingon และ Tendi เน้น ปฏิบัติ ทางทำสมาธิเพื่อให้เกิดสติปัญญา โดยให้ ผู้ปฏิบัติธรรมหาที่ วิเวก เข้าสู่ความเงียบของธรรมชาติ
การจัดสวน ในญี่ปุ่น จึงมีจุดเริ่มต้น จากวัด เช่นเดียวกับการเกิดขึ้นของ สวนจีน จากนั้นจึง แผ่ขยาย เข้าไปในวัง และ บ้านคหบดี ในเวลาต่อมา
ช่วงศตวรรษ ที่ 8-12 วัดในญี่ปุ่นส่วนใหญ่เป็นวัดใน ลัทธิชินโต มีสถาปัตยกรรม คล้ายกับที่ปรากฎในประเทศจีน คือ หลังคา เป็นทรงโค้ง มักจะมุงด้วยหญ้า ไม่มุงกระเบื้อง และจะมี ลานกรวด เพื่อแสดงถึง ความเป็นพื้นที่สงบ ศักดิ์สิทธิ์
ลานกรวดตามวัดต่างๆ จะถูกสร้างขึ้น อย่างประณีต และไม่ปลูกต้นไม้ ที่มีใบร่วงไว้ใน บริเวณใกล้เคียง ในตอนปลายสมัยนี้
ในศตวรรษที่ 12-15 การเข้ามาของลัทธิ Zen ในญี่ปุ่นทำให้เกิดสวน อีกประเภทที่เรียกว่า Dry Garden (kare sansui) มีลักษณะเป็นสวนแบบ Minimalism ซึ่งได้รับการออกแบบเพื่อให้เอื้อต่อการทำสมาธิ สวน Zen จึงเป็นสวนที่มีองค์ประกอบน้อยมากแสดงให้เห็นแก่นแท้ของธรรมชาติ สวนมีลักษณะเป็นลานกรวดที่มีต้นไม้น้อยที่สุด
via pic :Pinterest
นิยมสร้างสระน้ำ ผืนใหญ่ ไว้ในสวน มีศาลา สวดมนต์ ตั้งอยู่รอบๆ สวนในบ้านขุนนาง ชั้นผู้ใหญ่ หรือคหบดี บริเวณศาลาจะมี การตกแต่ง ประดับประดา ด้วยอัญมณี มีค่า มีการติดโคมไฟ ตลอดจน การทำรั้วรอบ
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น